ระบบอินเทอร์เน็ต

ระบบอินเตอร์เน็ต

  1. 1. ระบบอินเทอร์เน็ต
  2. 2. ระบบอินเทอร์เน็ต ระบบอินเทอร์เน็ต คือ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่มาก ซึ่ง เกิดจากการเชื่อมเครือข่ายย่อย ๆ จานวนมากเข้าไว้ด้วยกัน ทาให้คอมพิวเตอร์ทุก เครื่องทั่วโลกไม่ว่าจะเป็นชนิดใดหรือขนาดใดก็ตาม สามารถส่งผ่าน แลกเปลี่ยน ข้อมูลและสารสนเทศซึ่งกันและกันได้ โดยใช้โปรโตคอลเป็ นสื่อกลางในการ ติดต่อสื่อสาร สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างกันเหมือนเส้นใยแมงมุม ปัจจุบันนี้อินเทอร์เน็ตมีบทบาทเป็นอย่างมากกับการเป็นส่วนหนึ่งในการ ทางาน การดาเนินธุรกิจ ทั้งยังเป็นช่องทางการจาหน่ายสินค้า มีการบริการหลังการ ขายให้แก่ลูกค้าในด้านต่าง ๆ และสามารถทารายการทางการเงินผ่านทาง อินเทอร์เน็ตได้
  3. 3. คาศัพท์ที่เกี่ยวข้องในระบบอินเตอร์เน็ต • อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เชื่อมกันต้องมีหมายเลขประจาเครื่องเพื่อ ใช้ในการติดต่อสื่อสาร • สาหรับประเทศไทยในปัจจุบันรูปแบบของหมายเลข ประจาเครื่องส่วนใหญ่ใช้มาตรฐาน IPv4 ซึ่งใช้เลขฐาน 2 แบ่งตัวเลขออกเป็น4 ชุด เช่น 192.168.0.1 • ในอนาคต อุปกรณ์ต่าง ๆ มีความสามารถในการเชื่อมต่อ เข้ากับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์จึงจาเป็นต้องมีการขยาย หมายเลขประจาเครื่องเป็ นมาตรฐาน IPv6 ซึ่งใช้ เ ล ข ฐ า น สิ บ ห ก ข น า ด 16 บิ ต 8 ชุ ด เ ช่ น 3FFE:085B:1F1F:0000:0000:0000:00A9:1234 1. หมายเลขประจา เครื่องคอมพิวเตอร์ (Internet Protocol Address : IP Address)
  4. 4. คาศัพท์ที่เกี่ยวข้องในระบบอินเตอร์เน็ต • ข้อกาหนดหรือระเบียบการที่ใช้ติดต่อ รับส่งข้อมูลกัน ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์สองเครื่อง หรือ เครื่อง คอมพิวเตอร์ กับอุปกรณ์อื่น ๆ ที่เชื่อมต่ออยู่ในระบบ เครือข่าย • เนื่องจาก เครื่องคอมพิวเตอร์ หรือ อุปกรณ์ที่เชื่อมต่ออยู่ใน ระบบเครือข่ายมีหลากหลาย มีความเร็วและขนาดของ หน่วยความจาที่ใช้ในการทางานที่ไม่เท่ากัน อีกทั้ง ลักษณะของข้อมูลที่ส่งก็มีหลายรูปแบบ • จึงต้องมีข้อตกลงในการรับส่งข้อมูลเพื่อให้เกิดความ ถูกต้องและรวดเร็วในการสื่อสารกันระหว่างอุปกรณ์ 2. โพรโทคอล (Protocol)
  5. 5. 1) ไฟล์เซิฟเวอร์ (File Server) คือเครื่องที่ให้บริการแบ่งปันข้อมูลแก่เครื่องอื่นๆ ให้มีสิทธิ์ การใช้แฟ้มข้อมูล 2) เว็บเซิฟเวอร์ (Web Server) คือเครื่องที่ให้บริการข้อมูลเว็บไซต์ใช้สาหรับเก็บโฮมเพจ และเว็บเพจ 3) พร็อกซี่เซิฟเวอร์ (Proxy Server) คือเครื่องที่ให้บริการเป็นตัวแทนไปรับเว็บแทนลูกข่าย และสะสมเว็บนั้นไว้ในหน่วยความจาของตัวเอง สารองไว้เมื่อลูกข่ายร้องขอเว็บเดิมอีกครั้ง คาศัพท์ที่เกี่ยวข้องในระบบอินเตอร์เน็ต
  6. 6. 4) เมล์เซิฟเวอร์ (Mail Server) คือเครื่องทำหน้ำที่รับจดหมำย เก็บจดหมำย และส่งจดหมำย พร้อมทั้งคอยให้บริกำรผู้ใช้ที่ได้ลงทะเบียนใช้บริกำร 5) อินเทอร์เน็ตเซิฟเวอร์ (Internet Server) คือเครื่องที่ทำหน้ำที่เชื่อมต่อระบบอินเทอร์เน็ต และควบคุมกำรใช้บริกำรอินเทอร์เน็ตให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่ำย 6) พริ้นเซิฟเวอร์ (Print Server) คืออุปกรณ์ที่ให้บริกำรเกี่ยวกับกำรพิมพ์โดยเครื่องลูกข่ำยที่ อยู่ในเครือข่ำยสำมำรถส่งงำนของตนไปพิมพ์ได้ 7) ดีเอ็นเอสเซิฟเวอร์ (DNS Server) คือเครื่องที่ใช้สำหรับกำรอ้ำงอิงหมำยเลข IP กับชื่อ โดเมนเนมที่เรำทำกำรจดทะเบียน คาศัพท์ที่เกี่ยวข้องในระบบอินเตอร์เน็ต
  7. 7. เบราเซอร์ (Browser) คืออะไร • เบรำเซอร์ (Browser) คือโปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ที่ใช้ท่องเว็บหรือใช้ดูข้อมูลที่อยู่ ในเว็บไซต์ เบรำเซอร์มีควำมสำมำรถในกำรเปิดดูไฟล์ต่ำงๆ ที่สนับสนุนเช่น Flash JavaScript PDF Media ต่ำงๆ • เบรำเซอร์มีหลำยตัวและควำมสำมำรถของแต่ละตัวก็แตกต่ำงกันขึ้นอยู่กับว่ำ ผู้พัฒนำเบรำเซอร์ พัฒนำให้มีควำมสำมำรถอะไรบ้ำง • เบรำเซอร์มักใช้เปิดดูเว็บเป็นส่วนใหญ่ และกำรใช้งำนต่ำงๆในระบบเครือข่ำย อินเตอร์เน็ตก็มักจะทำผ่ำนเบรำเซอร์ เช่น กำรดูภำพยนตร์ผ่ำน Youtube กำรส่ง เมล์ กำรซื้อขำยสินค้ำในระบบ e-commerce กำรใช้สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) กำรดำวน์โหลดไฟล์ กำรเล่นเกมผ่ำนเน็ต กำรเรียนออนไลน์ เป็นต้น คาศัพท์ที่เกี่ยวข้องในระบบอินเตอร์เน็ต
  8. 8. ระบบอินเตอร์เน็ต 1. การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต (Internet Connections) 1.1 การเชื่อมต่อโดยใช้สายสัญญาณ การเชื่อมต่อแบบนี้จะอาศัยเครือข่ายโทรศัพท์พื้นฐานไปยังผู้ ให้บริการอินเทอร์เน็ต (Internet Service Provider: ISP) เช่น TOT, True, 3BB เป็นต้น อดีตนิยมใช้การเชื่อมต่อแบบ ไดอัลอัพ (Dial Up) ต้องอาศัยอุปกรณ์ ที่เรียกว่า โมเด็ม(Modem) เมื่อต้องการใช้อินเทอร์เน็ตเมื่อไหร่ จึงจะ ทาการเชื่อมต่อเข้ากับระบบ ปัจจุบันนิยมใช้การเชื่อมต่อแบบบรอด์แบนด์ (Broadband) ซึ่ง สามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้ตลอดเวลา โดยอาศัยอุปกรณ์ที่ เรียกว่า เอดีเอสแอลโมเด็ม (ADSL Modem)
  9. 9. 1. การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต (Internet Connections) 1.2 การเชื่อมต่อโดยไม่ใช้สายสัญญาณ การเชื่อมต่อแบบนี้จะอาศัยเครือข่ายโทรศัพท์มือถือในการติดต่อ อินเทอร์เน็ต โดยมีผู้ให้บริการโทรศัพท์มือถือ เช่น AIS, DTAC, True ทาหน้าที่เป็นผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต การเชื่อมต่อแบบนี้นิยมใช้กับอุปกรณ์ที่สามารถพกพาได้ เช่น คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ค พีดีเอ(PDA) สมาร์ทโฟน อุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมต่อเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ตเรียกว่า แอร์การ์ด (Air Card) ซึ่งทาหน้าที่เป็นโมเด็ม หากไม่ใช้แอร์การ์ด ก็สามารถใช้โทรศัพท์มือถือบางรุ่น ที่มี ความสามารถเป็นโมเด็มแทนแอร์การ์ดได้ เทคโนโลยีการติดต่อสื่อสารไร้สายที่ควรรู้มีดังนี้
  10. 10. 1. การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต (Internet Connections) 1.2 การเชื่อมต่อโดยไม่ใช้สายสัญญาณ 1G ระบบโทรศัพท์มือถือแบบอนาล็อก ส่งสัญญาณคลื่นวิทยุไปยังเสาส่ง สัญญาณโทรศัพท์มือถือ แล้วเชื่อมต่อไปยังเครือข่ายโทรศัพท์ 2G เปลี่ยนรูปแบบสัญญาณจากอนาล็อกเป็นแบบดิจิตอล ทาให้ ประสิทธิภาพในการส่งสัญญาณเสียงมีคุณภาพดีขึ้น 2.5G ระบบโทรศัพท์มือถือแบบดิจิตอลที่เริ่มนาระบบแพกเกตสวิตชิงมาใช้ มีการนาคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อกับโทรศัพท์มือถือเพื่อใช้รับส่งข้อมูล เช่น GPRS 2.75G ความเร็วในการส่งถ่ายข้อมูลสูงสุดประมาณ 384 กิโลบิตต่อวินาที (Kbps) และมีความเร็วในการใช้งานจริงประมาณ 80-100 กิโลบิตต่อวินาที 3G ระบบโทรศัพท์มือถือแบบดิจิตอลที่มีความสามารถครบทั้งการสื่อสาร ด้วยเสียงและข้อมูลรวมถึงวีดิโอ ระบบเครือข่ายโทรศัพท์ที่จัดอยู่ในยุคนี้ 3.5G โทรศัพท์มือถือแบบดิจิตอลที่มีความเร็วในการส่งข้อมูลสูงกว่ายุค 3G 4G โทรศัพท์มือถือในยุคนี้จะสามารถสนับสนุน แอปพลิเคชั่นที่ต้องการ ช่องทางในการส่งข้อมูลจานวนมาก
  11. 11. ระบบอินเตอร์เน็ต เมื่อมีการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หลาย ๆ เครื่องจนเป็นระบบเครือข่าย จาเป็ นต้องมีการ กาหนดหมายเลขหรือชื่อของเครือข่ายนั้น เพื่อให้สามารถอ้างถึงเครื่องคอมพิวเตอร์ใน เครือข่ายได้อย่างถูกต้อง จึงต้องมีหมายเลขประจาเครื่องขึ้นมา และการเข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ต่าง ๆ ทั่วโลก จาเป็น จะต้องขอใช้บริการจากเครื่องเซิร์ฟเวอร์โดยต้องระบุหมายเลขประจาเครื่องของเครื่อง เซิร์ฟเวอร์นั้นด้วย ซึ่งเป็นเรื่องที่ไม่สะดวกต่อการจดจา ได้พัฒนาให้มีเครื่องแม่ข่ายให้บริการชื่อโดเมน (Domain Name Server) ขึ้นมาเพื่อทา หน้าที่ในการแปลงชื่อของเว็บไซต์ให้เป็นหมายเลขประจาเครื่องแทน การบริหารจัดการระบบชื่อโดเมนโดย ISP จะใช้หลักเกณฑ์การแบ่งตามลักษณะของ โครงสร้างที่เป็นแบบทรี (Hierarchy Tree) 2. โดเมนเนม (Domain Name)
  12. 12. ระบบอินเตอร์เน็ต 1) จุดเริ่มต้น (Root) 2) ชื่อโดเมน (Domain) 3) สับโดเมน (Subdomain) 2. โดเมนเนม (Domain Name)
  13. 13. ระบบอินเตอร์เน็ต ตัวอย่างชื่อโดเมน เว็บไซต์ www.cmru.ac.th มี IP Address คือ 202.29.60.226 2. โดเมนเนม (Domain Name)
  14. 14. ระบบอินเตอร์เน็ต รูปแบบ Domain Name แบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ คือ แบบ 2 ระดับ รูปแบบ ชื่อองค์กร.ประเภทขององค์กร เช่น sanook.com, facebook.com, kapook.com, tttonline.net เป็นต้น แบบ 3 ระดับ รูปแบบ ชื่อองค์กร.ส่วนขยายบอกประเภทองค์กร.ส่วนขยาย ประเทศ เช่น cmru.ac.th, Manager.co.th, Nectec.or.th 1. 2. 2. โดเมนเนม (Domain Name)
  15. 15. ระบบอินเตอร์เน็ต ส่วนขยายประเภทขององค์กร ความหมาย กลุ่มองค์กร ส่วนขยายประเภทองค์กร กลุ่มธุรกิจการค้า Commercial Organizations com หรือ co สถาบันการศึกษา Educational Organizations edu หรือ ac หน่วยงานรัฐบาล Government Organizations gov หรือ go หน่วยงานทางทหาร Military Organizations mil หรือ mi หน่วยงานที่เกี่ยวกับเครือข่าย Networking Organizations net องค์กรที่ไม่แสวงหาผลกาไร Non-commercial Organizations org หรือ or 2. โดเมนเนม (Domain Name)
  16. 16. ระบบอินเตอร์เน็ต ส่วนขยายประเทศ ส่วนขยายประเทศ ประเทศ ส่วนขยายประเทศ ประเทศ at ออสเตรีย il อิสราเอล fr ฝรั่งเศส in อินเดีย be เบลเยี่ยม it อิตาลี ca แคนาดา jp ญี่ปุ่น ch สวิตเซอร์แลนด์ nl เนเธอร์แลนด์ cn จีน no นอร์เวย์ 2. โดเมนเนม (Domain Name)
  17. 17. ระบบอินเตอร์เน็ต ส่วนขยายประเทศ ประเทศ ส่วนขยายประเทศ ประเทศ de เยอรมันนี ru รัสเซีย dk เดนมาร์ค se สวีเดน es สเปน us อเมริกา fi ฟินแลนด์ uk สหราชอาณาจักร ie ไอร์แลนด์ th ไทย 2. โดเมนเนม (Domain Name) ส่วนขยายประเทศ
  18. 18. ระบบอินเตอร์เน็ต ยูอาร์แอล(Uniform Resource Locator : URL) คือ รูปแบบของการเรียกใช้ บริการในอินเทอร์เน็ตที่ใช้ในการอ้างอิงเว็บไซต์ต่าง ๆ http ชนิดของโปรโตคอลที่ใช้ในการถ่ายโอน www บริการที่เรียกใช้ Academic สับโดเมน cmru องค์กร ac ประเภทขององค์กร th ประเทศ web56 ไดเรกทอรี่ calendar.php ไฟล์เอกสารที่ระบุถึงเว็บเพจหนึ่ง ๆ ที่กาลังร้องขอ
  19. 19. การประยุกต์ใช้บริการทางอินเทอร์เน็ตกับชีวิตประจาวัน 1. จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail: E-Mail) จดหมายที่ส่งผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ซึ่งทั้งผู้รับและผู้ส่งอยู่ที่ใดในโลกก็ได้ อีเมล์นี้ช่วยให้ติดต่อกับบุคคลอื่นได้อย่างรวดเร็ว และเก็บข้อความไว้อ่านอีกได้ สามารถตอบกลับไปยังผู้ที่ส่งมา หรือส่งต่ออีเมล์ไปให้ผู้อื่นอีกหลายๆคนพร้อมกัน
  20. 20. การประยุกต์ใช้บริการทางอินเทอร์เน็ตกับชีวิตประจาวัน 2. ห้องสนทนา (Chat Room) เป็นเทคโนโลยีที่มีรูปแบบการสื่อสารแบบเรียลไทม์ สนทนากันด้วยการพิมพ์ข้อความ ยังสามารถส่งภาพและสนทนากันด้วยเสียงได้ด้วย ผู้ร่วมสนทนาทั้งหมดจะเห็นข้อความ ภาพ และเสียง เกือบจะพร้อมกัน เปรียบเสมือนนั่ง สนทนาอยู่ในห้องเดียวกัน ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้เทคโนโลยีนี้ ได้แก่ Camfrog ต้องมีอุปกรณ์สนับสนุน ได้แก่ ไมโครโฟน ลาโพง และกล้องดิจิตอล
  21. 21. การประยุกต์ใช้บริการทางอินเทอร์เน็ตกับชีวิตประจาวัน 3. การโทรศัพท์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (InternetTelephony) Internet Telephony หรือบางครั้งเรียกว่า (Voice over IP:VoIP) เป็นเทคโนโลยีที่ทาให้ผู้ใช้สามารถโทรศัพท์สนทนากันผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ โดยมีอุปกรณ์สนับสนุนการใช้งานอื่นๆ ได้แก่ ซอฟต์แวร์พิเศษสาหรับควบคุมการสนทนา ผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์ (Internet Telephone Software) ไมโครโฟน ลาโพง การทางานของระบบจะแปลงเสียงพูดซึ่งเป็นสัญญาณอนาล็อกไปเป็นสัญญาณดิจิตอล ส่งผ่านอินเทอร์เน็ตไปสู่ปลายทางที่ต้องการสนทนา แล้วแสดงผลผ่านลาโพงของปลายทาง
  22. 22. การประยุกต์ใช้บริการทางอินเทอร์เน็ตกับชีวิตประจาวัน 4. บริการเกี่ยวกับเครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Network Service) Social Network คือ การที่ผู้คนสามารถทาความรู้จักและเชื่อมโยงกันในทิศทางใดทิศทาง หนึ่ง โดยให้ผู้คนได้มามีพื้นที่ สาหรับมาทาความรู้จักกันโดยเลือกได้ว่า ต้องการทาความรู้จักใคร หรือเป็นเพื่อนกับใคร ตัวอย่างของ Social Network ได้แก่ Facebook, Twitter และ Blog
  23. 23. การประยุกต์ใช้บริการทางอินเทอร์เน็ตกับชีวิตประจาวัน 5. คลาวด์แอปพลิเคชั่น (Cloud Application) เป็นโมเดลรูปแบบใหม่ของเทคโนโลยีสารสนเทศในการใช้งานบนอินเทอร์เน็ตที่เน้นการ ขยายตัวได้อย่างยืดหยุ่น สามารถที่จะปรับขนาดได้ตามความต้องการของผู้ใช้ มีการจัดสรรแบ่งทรัพยากร เน้นการทางานระยะไกลอย่างง่าย โดยใช้อินเทอร์เน็ตเป็น โครงสร้างพื้นฐาน ตัวอย่างของ คลาวด์แอปพลิเคชั่น ที่เป็นที่รู้จัก ได้แก่ Youtubeโดยผู้ใช้สามารถเก็บวิดีโอ ออนไลน์ได้โดยไม่ต้องมีความรู้ในการสร้างระบบวิดีโอออนไลน์
  24. 24. การประยุกต์ใช้บริการทางอินเทอร์เน็ตกับชีวิตประจาวัน 6. เวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web: WWW) เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อกันทั่วโลก โดยมีการเชื่อมโยงเครือข่ายข่าวสาร ค้นหาข้อมูลข่าวสาร บนอินเทอร์เน็ต มีการเชื่อมโยงจากแหล่งข้อมูลหนึ่งไปยังแหล่งข้อมูลที่อยู่ห่างไกล WWW จะแสดงผลในรูปแบบของเอกสารที่เรียกว่า ไฮเปอร์เท็กซ์ (Hyper Text) โดยใช้เว็บ บราวเซอร์ในการดูหรืออ่านข้อมูลดังกล่าว เว็บบราวเซอร์ที่นิยมใช้ ได้แก่ Internet Explorer (IE), Firefox, Google chrome เป็นต้น
  25. 25. ความหมายของ Upload Download • อัพโหลด (Upload) หมำยถึง กำรส่งข้อมูลออกจำกอุปกรณ์ของเรำ? กำรส่งออกสำมำรถส่งในรูปแบบไม่ จำกัด ไม่ว่ำจะเป็น ข้อควำม รูปภำพ เสียง หรือแม้กระทั่งวีดีโอ ส่งออกไป โดย สำมำรถส่งออกได้ในช่องทำงต่ำงๆ เช่น กำรส่งผ่ำน Message / Email หรือแม้กระทั่ง ผ่ำน FTP (อีกหนึ่งวิธีในกำรย้ำยข้อมูล) เป็นต้น กิจกรรมเหล่ำนี้ ล้วนต้องกำร ควำมเร็วในกำรอัพโหลดทั้่งสิ้น • ดาวน์โหลด (Download) หมำยถึง กำรรับข้อมูลจำกภำยนอกเข้ำสู่อุปกรณ์ภำยในของเรำ ไม่ว่ำจะเป็นกำร เปิด เข้ำหน้ำเว็บ กำร download ไฟล์จำกเว็บ ก็ถือว่ำอยู่ในกลุ่มของกำร download เช่นเดียวกัน ยิ่งควำมเร็วในกำรดำวน์โหลดสูง ย่อมทำงำนได้เร็วขึ้น อ้ำงอิงจำก http://www.imotab.com/index.php/hi-speed-internet/625-what-is-upload-download
  26. 26. การUpload Downloadเร็วแค่ไหน ถึงเพียงพอ • ดาวน์โหลด (download) ยิ่งมีควำมเร็วมำก ย่อมทำให้เรำสำมำรถค้นหำข้อมูล เปิดดูหนังออนลไน์ได้สะดวกและรวดเร็วมำก สำหรับกำรใช้งำนส่วนบุคคล แนะนำว่ำ เพียงแค่ควำมเร็ว 5 mbps ก็เพียงพอแล้ว ไม่จำเป็นต้องสูงมำกกว่ำนี้ เพรำะถ้ำเรำไม่ได้เน้นในเรื่องกำรดำวน์โหลดไฟล์ใหญ่ๆ จำกอินเตอร์เน็ต • อัพโหลด (Upload)โดยปกติ มักไม่ค่อยจำเป็นมำกนักที่จะใช้ควำมเร็วสูงๆ ยกเว้น แต่เวลำต้องกำรส่งออกเมลที่มีไฟล์แนบขนำดใหญ่ๆซึ่งก็ไม่ค่อยได้ส่งออกเท่ำไหร่ ดังนั้น จะเห็นได้ชัดว่ำ Upload มักมีควำมเร็วที่ช้ำ Download หลำยเท่ำ สำหรับ บุคคลทั่วไปควำมเร็วในกำรอัพโหลดประมำณ 2 mbps ก็เพียงแล้วเช่นกัน อ้ำงอิงจำก http://www.imotab.com/index.php/hi-speed-internet/625-what-is-upload-download
  27. 27. เครือข่ายอินเทอร์ เน็ตถือว่าเป็ นเทคโนโลยีที่เปลี่ยนวิถี ชีวิตประจาวันของมนุษย์เราอย่างยิ่ง ทาให้คนเราสามารถติดต่อสื่อสารกัน ได้แม้อยู่คนละซีกโลกก็ตาม แต่อย่างไรก็ตามภัยที่มาจากอินเทอร์เน็ตก็มี เป็นจานวนมาก ดังนั้นเราจึงต้องรู้จัก และ ใช้งานอินเทอร์เน็ตให้เป็นเพื่อให้ เกิดประโยชน์ต่อตัวเราเองให้มากที่สุด

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น